• หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับหน่วยงาน
    • ประวัติความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ & พันธกิจ
    • อำนาจหน้าที่
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • หน่วยงานในสังกัด
    • ผู้บังคับบัญชา
      • ข้อมูลผู้บริหาร
      • ภารกิจ ผู้บังคับบัญชา
      • ผู้กำกับการ
      • รองผู้กำกับการ
      • ทำเนียบหัวหน้าสถานี
    • พื้นที่รับผิดชอบ
  • ข่าวสาร
  • การบริหารงาน
    • แผนยุทธศาสตร์
      • แผนปฏิบัติราชการประจำปี
      • แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาสถานีตำรวจนครบาล
      • รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงาน
      • รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
    • การเงินงบประมาณ
      • การใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
        • แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
        • รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ
        • รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
      • การจัดซื้อ จัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุ
        • แผนการจัดซื้อ จัดจ้าง จัดหาพัสดุ
        • ประกาศต่างๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อ จัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุ
        • สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างรายเดือน
        • รายงานผลการจัดซื้อ จัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุประจำปี
    • การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
      • นโยบายการบริหารกำลังพล
      • การดำเนินการตามนโยบายการบริหารกำลังพล
      • หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนากำลังพล
      • รายงานผลการบริหารและพัฒนากำลังพลประจำปี
    • การส่งเสริมความโปร่งใส
      • แนวทางปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
      • ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต
      • ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตประจำปี
      • การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
    • การบริการ
      • รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
      • รายงานข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
    • คู่มือต่าง ๆ
      • คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (เจ้าหน้าที่ตำรวจ)
      • คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ (ประชาชน)
  • การป้องกันการทุจริต
    • การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต
      • เจตจำนงสุจริตของผู้กำกับการสถานีตำรวจ
      • การมีส่วนร่วมของผู้กำกับการสถานีตำรวจ
    • การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต
      • การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
      • การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
    • การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
    • แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
      • แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
      • รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต
    • มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต
      • มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส ภายใน สน.
      • การส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายใน สน.
  • กต.ตร
    • อำนาจหน้าที่
    • คณะกรรมการฯ กต.ตร
    • การมีส่วนร่วมกับ กต.ตร.
  • บริการประชาชน
    • บทความ/กฎหมาย
    • ข้อมูลสถานีตำรวจ
    • ศูนย์กลางแอปพลิเคชั่น
    • สื่อสังคม (Social Network)
    • ระบบบริการภาครัฐ (E-SERVICE)
    • ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น
    • คำถามที่พบบ่อย (FAQ)
    • ถามตอบ (Q&A)
  • ติดต่อ สน.
Menu
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับหน่วยงาน
    • ประวัติความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ & พันธกิจ
    • อำนาจหน้าที่
    • โครงสร้างหน่วยงาน
    • หน่วยงานในสังกัด
    • ผู้บังคับบัญชา
      • ข้อมูลผู้บริหาร
      • ภารกิจ ผู้บังคับบัญชา
      • ผู้กำกับการ
      • รองผู้กำกับการ
      • ทำเนียบหัวหน้าสถานี
    • พื้นที่รับผิดชอบ
  • ข่าวสาร
  • การบริหารงาน
    • แผนยุทธศาสตร์
      • แผนปฏิบัติราชการประจำปี
      • แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาสถานีตำรวจนครบาล
      • รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงาน
      • รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
    • การเงินงบประมาณ
      • การใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
        • แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
        • รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ
        • รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
      • การจัดซื้อ จัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุ
        • แผนการจัดซื้อ จัดจ้าง จัดหาพัสดุ
        • ประกาศต่างๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อ จัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุ
        • สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างรายเดือน
        • รายงานผลการจัดซื้อ จัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุประจำปี
    • การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
      • นโยบายการบริหารกำลังพล
      • การดำเนินการตามนโยบายการบริหารกำลังพล
      • หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนากำลังพล
      • รายงานผลการบริหารและพัฒนากำลังพลประจำปี
    • การส่งเสริมความโปร่งใส
      • แนวทางปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
      • ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต
      • ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตประจำปี
      • การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
    • การบริการ
      • รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
      • รายงานข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
    • คู่มือต่าง ๆ
      • คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (เจ้าหน้าที่ตำรวจ)
      • คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ (ประชาชน)
  • การป้องกันการทุจริต
    • การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต
      • เจตจำนงสุจริตของผู้กำกับการสถานีตำรวจ
      • การมีส่วนร่วมของผู้กำกับการสถานีตำรวจ
    • การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต
      • การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
      • การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
    • การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
    • แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
      • แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
      • รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต
    • มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต
      • มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส ภายใน สน.
      • การส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายใน สน.
  • กต.ตร
    • อำนาจหน้าที่
    • คณะกรรมการฯ กต.ตร
    • การมีส่วนร่วมกับ กต.ตร.
  • บริการประชาชน
    • บทความ/กฎหมาย
    • ข้อมูลสถานีตำรวจ
    • ศูนย์กลางแอปพลิเคชั่น
    • สื่อสังคม (Social Network)
    • ระบบบริการภาครัฐ (E-SERVICE)
    • ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น
    • คำถามที่พบบ่อย (FAQ)
    • ถามตอบ (Q&A)
  • ติดต่อ สน.
ประวัติ สน.
โครงสร้างสถานีตำรวจนครบาลเตาปูน
วิสัยทัศน์
เจตจำนงและเจตนารมณ์
พื้นที่รับผิดชอบ
อำนาจหน้าที่
แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาสถานีตำรวจนครบาล
แผนปฏิบัติราชการประจำปี
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ ในหัวข้อบริการประชาชน
ประวัติ สน.

สถานีตำรวจนครบาลเตาปูนเดิมเป็นกึ่งสถานีตำรวจนครบาลเตาปูน อยู่ในความ รับผิดชอบของสถานีตำรวจนครบาลบางซื่อ กองกำกับการตำรวจนครบาล ๓ ซึ่งได้ก่อตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฏีกาแบ่งส่วนราชการกรมตำรวจ เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๑๐ มีที่ตั้งสถานีตำรวจนครบาลเตาปูน อยู่เลขที่ ๕๐ ริมทางรถไฟสายเหนือ แขวงลาดยาว เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร อยู่ติดกับสถานีรถไฟบางซื่อ โดยมีพื้นที่รับผิดชอบ ๒๐.๔๑ ตารางกิโลเมตร

 

ต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็นสถานีตำรวจนครบาลเตาปูน ขึ้นเมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๑๒ ได้ย้ายที่ทำการมาสร้างเป็นอาคาร ๓ ชั้น คล้ายรูปตัวที หลังคาทรงไทย ทั้งนี้เพราะพื้นที่กึ่งของสถานีตำรวจนครบาลเตาปูนได้มีความเจริญขึ้น และได้ขยายตัวออกไปถึงชานเมือง เป็นเหตุให้พลเมืองเพิ่มจำนวนมากขึ้นเป็นเงาตามตัว จึงจำเป็นต้องยกฐานะกึ่งสถานีตำรวจนครบาลเตาปูนขึ้น แต่ยังคงขึ้นอยู่กับกองกำกับการตำรวจนครบาล ๓ ดังเดิม

 

ต่อมาทางกองบัญชาการตำรวจนครบาลเห็นควร แบ่งกองกำกับการตำรวจนครบาล ๓ และ ๔ ออกเป็น ๓ กองกำกับการ คือ กองกำกับการตำรวจนครบาล ๓, ๔ และ ๕ ซึ่งสถานีตำรวจนครบาลเตาปูนได้ขึ้นมาอยู่กับกองกำกับการตำรวจนครบาล ๔ มีสถานีตำรวจนครบาลเตาปูน สถานีตำรวจนครบาลประชาชื่น และสถานีตำรวจนครบาลดุสิต

 

ต่อมากระทรวงมหาดไทยเห็นว่า สถานีตำรวจนครบาลหลายสถานีตั้งมาเป็นเวลานานแล้ว และมีเขตอำนาจการปกครองกว้างขวาง ซึ่งเดิมพื้นที่ส่วนใหญ่ในเขตอำนาจรับผิดชอบของสถานีตำรวจนครบาลเหล่านี้เป็นพื้นที่ว่างเปล่า แต่ปัจจุบันนี้ปรากฏว่า ประชาชนในเขตรับผิดชอบได้ทวีขึ้นอย่างรวดเร็วและหนาแน่นมาก ตลอดจนอาคารบ้านเรือนและสถานที่สำคัญได้เพิ่มมากขึ้น แต่เขตการปกครองของสถานีตำรวจนครบาลดังกล่าวยังมิได้เปลี่ยนแปลง เพื่อเป็นการเพิ่มอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจนครบาลเพิ่มขึ้น โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒ แห่งพระราชกฤษฏีกาแบ่งพื้นที่ส่วนราชการกรมตำรวจ กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.๒๕๐๘ ให้สถานีตำรวจนครบาลเตาปูนแบ่งพื้นที่รับผิดชอบออกไปเป็น ๒ สถานี คือ สถานีตำรวจ นครบาลเตาปูน และสถานีตำรวจนครบาลประชาชื่น โดยให้ขึ้นกับกองกำกับการตำรวจนครบาล ๔ มีพื้นที่รับผิดชอบเพียง ๘,๑๔๔ ตารางกิโลเมตร

 

ต่อมากรมตำรวจได้ปรับปรุงสถานีตำรวจนครบาล นำรูปแบบตามโครงการสถานีตำรวจนครบาลมาทดลอง ซึ่งมีสถานีตำรวจนครบาลบางซื่อ และสถานีตำรวจนครบาลทองหล่อที่ประสบความสำเร็จมาเป็นตัวอย่าง และ ก.ตร. ให้ใช้เป็นการถาวรกับสถานีตำรวจนครบาลอื่นๆ ในกองบัญชาการตำรวจนครบาลต่อไป

 

ดังนั้น ทางสถานีตำรวจนครบาลเตาปูนจึงเริ่มเป็นสถานีตำรวจนครบาล (ปรับปรุง) ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๒๘ เป็นต้นมา และได้ปฏิบัติภาระหน้าที่ตามคำสั่งกรมตำรวจที่ ๕๐๗/๒๕๒๘ ลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๒๘ เป็นต้นมา

โครงสร้างสถานีตำรวจนครบาลเตาปูน

บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของสายงานต่างๆในระดับหน่วยงาน

 

สถานีตำรวจ มีหน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และตามกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดในคดีอาญา ภายในเขตอำนาจการรับผิดชอบหรือเขตพื้นที่การปกครอง รวมตลอดถึงการรับผิดชอบในด้านการงาน  และการปกครองบังคับบัญชาถัดรองลงไปจากกองบังคับการตำรวจ นครบาล(1-9) หรือตำรวจภูธรจังหวัด เพื่อรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ความมั่นคงภายใน บริการทางสังคม ชุมชน และมวลชนสัมพันธ์ การพัฒนางานบริหารและงานจเรตำรวจ การป้องกันปราบปรามอาชญากรรม และการรักษาความสงบเรียบร้อย รวมตลอดจนถึงงานกิจการพิเศษ และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถานีตำรวจ งานในสถานีตำรวจ แบ่งออกเป็น  5  ลักษณะ ดังนี้  คือ

 

๑. งานอำนวยการ

 

– มีหน้าที่เกี่ยวกับการอำนวยการ การวางแผน การตรวจสอบติดตามและประเมินผลงานที่เกี่ยวกับนโยบาย  ยุทธศาสตร์ และแผนงานของสถานีตำรวจ งานการบริหารบุคลากร งานจเรตำรวจ งานกิจการพิเศษ งานความมั่นคง การศึกษาการฝึกอบรม งานวิชาการ สวัสดิการ การพัฒนา การบริหารจัดการ งบประมาณ การเงิน การพัสดุ การพลาธิการและ สรรพวุธ การส่งกำลังบำรุง รวมทั้งลักษณะงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องหรือเป็นส่วนประกอบของงานดังกล่าว เพื่อส่งเสริมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของสถานีตำรวจ

 

๒. งานป้องกันปราบปราม

 

– งานป้องกันปราบปรามมีหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผน  อำนวยการ สั่งการ ควบคุม กำกับ ดูแล   ตรวจสอบติดตามและประเมินผล ตลอดจนปฏิบัติงานในด้านการป้องกันอาชญากรรมและรักษาความสงบเรียบร้อย งานคณะกรรมการตรวจสอบ และติดตามการบริหารงานตำรวจ งานชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งงานที่มีลักษณะเกี่ยวข้องหรือเป็นส่วนประกอบของงานนี้ เพื่อมิให้เกิดอาชญากรรมขึ้นในเขตอำนาจการรับผิดชอบหรือพื้นที่ปกครองของสถานีตำรวจ

 

๓. งานจราจร

 

– มีหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผน  อำนวยการ สั่งการ ควบคุม กำกับ ดูแล  ตรวจสอบและประเมินผลงานด้านการควบคุมจราจร จัดการและบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับจราจร งานจราจรตามโครงการพระราชดำริ รวมทั้งงานที่มีลักษณะเกี่ยวข้อง หรือเป็นส่วนประกอบของงานนี้ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาด้านการจราจร ในเขตอำนาจการรับผิดชอบหรือพื้นที่ปกครองของสถานีตำรวจ ตลอดจนพื้นที่ที่มีการจราจรต่อเนื่องกัน

๔. งานสืบสวน

– มีหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผน  อำนวยการ สั่งการ ควบคุม กำกับ ดูแล  ตรวจสอบติดตามและประเมินผล ตลอดจนปฏิบัติงานในด้านการสืบสวน ปราบปราม อาชญากรรม การกระทำความผิดตามพระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญาทุกฉบับตลอดจนองค์กรหรือเครือข่ายที่อยู่เบื้องหลัง รวมทั้งงานที่มีลักษณะเกี่ยวข้อง หรือเป็นส่วนประกอบของงานนี้ เพื่อมิให้เกิดอาชญากรรมขึ้นในเขตอำนาจการรับผิดชอบหรือพื้นที่ปกครองของสถานีตำรวจ

 

๕. งานสอบสวน

 

– มีหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผน  อำนวยการ สั่งการ ควบคุม กำกับ ดูแล  ตรวจสอบติดตามและประเมินผลด้านการสอบสวนคดีอาญา การมีความเห็น การให้ความเห็นชอบ หรือการเห็นแย้งในคดีอาญา การอุทธรณ์ ฎีกา หรือการขอให้พิจารณาคดีใหม่ รวมทั้งงานที่มีลักษณะเกี่ยวข้อง หรือเป็นส่วนประกอบของงานนี้ เพื่ออำนวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชนในการสืบสวนสอบสวนคดีอาญาให้บังเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในเขตอำนาจการรับผิดชอบหรือพื้นที่ปกครองของสถานีตำรวจ

วิสัยทัศน์

วิสัยทัศน์ของสถานีตำรวจนครบาลเตาปูน

“พิทักษ์ รับใช้ประชาชน จักดำรงปกป้อง สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์”

 

พันธกิจของ

๑. ถวายความปลอดภัยสำหรับองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ พระบรมวงศานุวงศ์ ผู้แทนพระองค์และพระราชอาคันตุกะ ให้บังเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

๒. บังคับใช้กฎหมาย อำนวยความยุติธรรม ให้บริการประชาชนด้วยความเสมอภาคเป็นธรรม ตามหลักธรรมาภิบาล

๓. รักษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชนและชุมชน และรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรให้เป็นที่เชื่อมั่นและศรัทธา

๔. ร่วมกันสร้างเครือข่ายชุมชนและองค์การทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาของสังคม โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง

๕. พัฒนาบุคลากรให้มีความเป็นมืออาชีพ เพื่อสร้างความเข้มแข็งขององค์การ

๖. ปฏิบัติภารกิจและช่วยเหลือการพัฒนาประเทศตามนโยบายรัฐบาลให้เกิดผลสัมฤทธิ์

เจตจำนงและเจตนารมณ์

ประกาศเจตนารมณ์ในการป้องกันการทุจริต

ประกาศเจตจำนงสุจริตในการบริหารงาน

พื้นที่รับผิดชอบ

เขตอำนาจการรับผิดชอบและเขตพื้นที่การปกครองสถานีตำรวจนครบาลเตาปูน

ทิศเหนือ

เริ่มจากบริเวณที่ไหล่ทางรถไฟสายใต้ ฟากใต้ บรรจบกันริมขอบทางเท้าด้านนอกถนนประชาราษฎร์ สาย ๑ ฟากตะวันออก บริเวณสะพานพระราม ๖ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามไหล่ทางรถไฟสายใต้ ฟากใต้ จนบรรจบกับไหล่ทางรถไฟสายเหนือ  ฟากตะวันตก

ทิศตะวันออก

เริ่มจากบริเวณที่ไหล่ทางรถไฟสายเหนือ ฟากตะวันตก บรรจบกับไหล่ทางรถไฟสายใต้ ฟากใต้ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตามไหล่ทางรถไฟสายเหนือ ฟากตะวันตก จนบรรจบกับขอบทางเท้าด้านนอกของซอยระนอง ๑ ฟากเหนือ

ทิศใต้

เริ่มจากบริเวณที่ขอบทางเท้าด้านนอกของซอยระนอง ๑ ฟากเหนือ บรรจบกับไหล่ทางรถไฟสายเหนือ ฟากตะวันตก ไปทางทิศตะวันตก ตามขอบทางเท้าด้านนอกของซอยระนอง ๑ ฟากเหนือ บรรจบกับริมฝั่งคลองบางกระบือฝั่งเหนือ ไปทางทิศตะวันตก เลียบไปตามริมฝั่งคลองบางกระบือฝั่งเหนือ จนบรรจบกับขอบทางเท้าด้านนอกของถนนสามเสน ฟากตะวันออก

ทิศตะวันตก

เริ่มจากบริเวณที่ขอบทางเท้าด้านนอกของถนนสามเสน ฟากตะวันออก บรรจบกับริมฝั่งคลองบางกระบือฝั่งเหนือ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตามแนวขอบทางเท้าด้านนอกของถนนประชาราษฎร์ สาย ๑ ฟากตะวันออก บรรจบกับริมฝั่งคลองวัดเสาหินฝั่งเหนือ ฝั่งตะวันตก ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เลียบไปตามริมฝั่งคลองเสาหินฝั่งเหนือ จนบรรจบบริเวณที่ไหล่ทางรถไฟสายใต้ ฟากใต้

อำนาจหน้าที่

1. ถวายความปลอดภัยและถวายพระเกียรติแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถและ พระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์

 

2. ป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินให้กับประชาชนและ สังคม

 

3. รักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ต่อต้านการก่อการร้ายและการก่อความไม่สงบในรูปแบบต่างๆ

 

4. ให้บริการและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนให้ได้รับความพึงพอใจสูงสุด

 

5. ส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในกิจการตำรวจ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมโดยยึดหลักประชาชนเป็นศูนย์กลางและชุมชนเป็นฐาน

 

6. ควบคุมและจัดการจราจร เพิ่มความปลอดภัยในการใช้รถ ใช้ถนน รวมทั้งบังคับใช้กฎหมาย อย่างเคร่งครัดและเป็นธรรม

 

7. อำนวยความยุติธรรมโดยยึดหลักนิติธรรม

แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาสถานีตำรวจนครบาล

หลักการที่สำคัญอยู่ ๓ ประการด้วยกัน คือ

 

๑. การวางยุทธศาสตร์อย่างเป็นระบบตามแนวทางของ บช.น. และ บก.น.๒

 

๒. ดึงพลังการมีส่วนร่วมจากส่วนต่างๆ ของสังคมทั้งจากภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมจากประชาชนมาร่วมกันแก้ไขปัญหาอาชญากรรม

 

๓. เน้นการบริหารจัดการที่อยู่ในกรอบของการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม และโปร่งใส ภายใต้หลักการบริหารจัดการที่ดี มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ มาช่วยเหลือในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้การปฏิบัติราชการตามภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบ วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่เสมือนหนึ่งพันธะสัญญาในการปฏิบัติงานของสถานีตำรวจนครบาลเตาปูน ได้วางยุทธศาสตร์ไว้ทั้งหมด 8 ด้าน ทั้งนี้ เพื่อให้หน่วยงานในสังกัดและเจ้าหน้าที่ตำรวจทุกนาย ได้ทราบทิศทางและจุดเน้นที่ชัดเจนยิ่งขึ้นควบคู่ไปกับแผน แผนงาน และโครงการที่ได้ดำเนินการอยู่แล้ว โดยจะมีการตรวจสอบ และติดตามประเมินผลอย่างใกล้ชิดต่อไป มีรายละเอียดของแต่ละยุทธศาสตร์ ดังต่อไปนี้

 

ยุทธศาสตร์ที่ 1 – การถวายอารักขา รักษาความปลอดภัย และงานกิจการพิเศษ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 – การให้บริการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง

ยุทธศาสตร์ที่ 3 – การป้องกันปราบปรามอาชญากรรมโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม

ยุทธศาสตร์ที่ 4 – การอำนวยความยุติธรรม

ยุทธศาสตร์ที่ 5 – การควบคุมและจัดการจราจร

ยุทธศาสตร์ที่ 6 – การทำสงครามกับการทุจริตและประพฤติมิชอบ

ยุทธศาสตร์ที่ 7 – องค์กรอิเล็กทรอนิกส์ (e-organization)

ยุทธศาสตร์ที่ 8 – การบริหารจัดการแบบบูรณาการ

แผนปฏิบัติราชการประจำปี
  • แสดงแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสถานีตำรวจ
  • มีข้อมูลรายละเอียดของแผนฯ เช่น โครงการหรือกิจกรรม งบประมาณที่ใช้ ช่วงระยะเวลา เป็นต้น
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงาน
  • แสดงความก้าวหน้าในการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสถานีตำรวจ
  • มีเนื้อหารายงานความก้าวหน้า เช่น ความก้าวหน้า การดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม รายละเอียดงบประมาณที่ใช้ดำเนินงาน เป็นต้น
  • เป็นรายงานข้อมูล รอบ 6 เดือน ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
  • แสดงผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการของสถานีตำรวจประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่ผ่านมา
  • มีข้อมูลรายละเอียดสรุปผลการดำเนินงาน เช่น ผลการดำเนินการ โครงการหรือกิจกรรม ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย เป็นต้น
คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจ

คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจ

คลิกดูรายละเอียด

แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
  • จะต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 พร้อมรายละเอียด
รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ
  • แสดงความก้าวหน้าในการดำเนินงานตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
  • มีข้อมูลรายละเอียดความก้าวหน้า เช่น ความก้าวหน้าการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นต้น
  • เป็นข้อมูลในระยะเวลา 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
  • แสดงผลการดำเนินงานตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่ผ่านมา
  • มีข้อมูลรายละเอียดสรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณเช่น ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย เป็นต้น
การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ

แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ

  • แสดงแผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุตามที่หน่วยงานจะต้องดำเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
  • เป็นข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
  • ข้อมูลจะต้องประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ แผนการจัดซื้อจัดจ้างในภาพรวมของปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และแผนการจัดซื้อจัดจ้างรายโครงการ

ประกาศต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ

  • แสดงประกาศตามที่สถานีตำรวจ จะต้องดำเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 เช่น ประกาศเชิญชวนประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้าง เป็นต้น
  • เป็นข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน

  • แสดงสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างของสถานีตำรวจ
  • มีข้อมูลรายละเอียดผลการจัดซื้อจัดจ้าง เช่น งานที่ซื้อหรือจ้าง วงเงินที่ซื้อหรือจ้าง ราคากลาง วิธีการซื้อหรือจ้าง รายชื่อผู้เสนอราคาและราคาที่เสนอ ผู้ได้รับการคัดเลือกและราคาที่ตกลง เหตุผลที่คัดเลือกโดยสรุป เลขที่และวันที่ของสัญญา หรือข้อตกลงในการซื้อหรือจ้าง เป็นต้น
  • จำแนกข้อมูลเป็นรายเดือน (กรณีไม่มีการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือนใดให้ระบุว่าไม่มีการจัดซื้อจัดจ้าง)
  • เป็นข้อมูลในระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี

  • รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปีจะต้องมีข้อมูลสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564
  • อย่างน้อยจะต้องประกอบด้วย
    • สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
    • ปัญหาและอุปสรรคของการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ เช่น ปัญหาการเขียนโครงการ ปัญหาการกำหนด TOR ราคากลางการหาผู้ชำนาญงานเทียบเคียง ปัญหาในขั้นตอนกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ที่ทำให้การจัดซื้อจัดจ้างไม่สำเร็จ เช่น การประกาศแล้วไม่มีผู้ยื่นข้อเสนอ จนเข้าสู่กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างใหม่ การบริหารสัญญา ตลอดจนการตรวจรับงาน และการเบิกจ่าย ในโครงการต่างๆ เป็นต้น
    • ข้อเสนอแนะการปรับปรุงพัฒนาการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ

(หากไม่มี 3 ส่วนนี้ จะไม่ได้รับการพิจารณาคะแนน)

การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

นโยบายการบริหารกำลังพล

  • นโยบายการบริหารงานกำลังพล ของผู้กำกับการ เช่น
    1. บโยบายค้านการบริหารกำลังพล ได้แก่ การโยกย้าย การประเมินผล การพิจารณาความดีความชอบ ฯลฯ
    2. นโยบายด้านการพัฒนากำลังพล เช่น การริเริ่มแนวทางการพัฒนากำลังพล เพื่อให้ปฏิบัติงานในสายงานต่างๆ (งานอำนวยการ งานป้องกันปราบปราม งานจราจร งานสืบสวน และงานสอบสวน) ให้มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น

หมายเหตุ

  • ขอให้ผู้กำกับการสถานีตำรวจสื่อสารนโยบายไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจในหน่วยงานด้วย

การดำเนินการตามนโยบายการบริหารกำลังพล

  • สถานีตำรวจ มีการดำเนินการตามนโยบายการบริหารกำลังพล ตามที่ได้ประกาศตามข้อ O25

หมายเหตุ

  • ขอให้มีการรายงานกิจรรมการสื่อสารนโยบายของผู้กำกับการสถานีตำรวจไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจด้วย

หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนากำลังพล

  • สถานีตำรวจนครบาล มีการประกาศหลักเกณฑ์การบริหารและการพัฒนากำลังพล ซึ่งเป็นไปตามกฎระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
    • หลักเกณฑ์การโยกย้ายกำลังพล
    • หลักเกณฑ์การพัฒนากำลังพล
    • หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงาน
    • หลักเกณฑ์การให้คุณให้โทษและการสร้างขวัญกำลังใจ

รายงานผลการบริหารและพัฒนากำลังพลประจำปี

สถานีตำรวจ มีการเผยแพร่รายงานผลการบริหารกำลังพล และผลการพัฒนากำลังพล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ที่ผ่านมา ทั้งทางด้านการบริหารกำลังพล และการพัฒนากำลังพล

การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต

แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต

  • แสดงคู่มือหรือแนวทางการดำเนินการต่อเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ตำรวจในหน่วยงาน
  • มีข้อมูลรายละเอียดของการปฏิบัติงาน เช่น รายละเอียดวิธีการที่บุคคลภายนอกจะทำการร้องเรียน รายละเอียด ขั้นตอนหรือวิธีการในการจัดการต่อเรื่องร้องเรียนสายงานที่รับผิดชอบ ระยะเวลาดำเนินการ เป็นต้น
  • ให้ยึดแนวทางปฏิบัติจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติโดยสถานีตำรวจจะต้องดำเนินการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ให้ทราบภายในหน่วยงานด้วย

ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต

  • แสดงช่องทางที่บุคคลภายนอกสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ตำรวจในหน่วยงาน
  • สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไชต์หลักของสถานีตำรวจ

ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตประจำปี

  • แสดงข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ตำรวจในหน่วยงาน
  • มีข้อมูลความก้าวหน้าการจัดการเรื่องร้องเรียน เช่น จำนวนเรื่อง เรื่องที่ดำเนินการแล้วเสร็จ เรื่องที่อยู่ระหว่างดำเนินการ เป็นต้น (กรณีไม่มีเรื่องร้องเรียนให้ระบุไม่มีเรื่องร้องเรียน)
  • เป็นข้อมูลในระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต

แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี

  • แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี จะต้องมีข้อมูลแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตของแต่ละสายงาน และรวบรวมเป็นภาพของสถานีตำรวจ มีรายละเอียดกิจกรรม แนวทางการดำเนินงาน
  • เป็นการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2565

รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต

  • แสดงความก้าวหน้าในการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตของสถานีตำรวจ
  • มีข้อมูลรายละเอียดความก้าวหน้า เช่น ความก้าวหน้าในการดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม รายละเอียดงบประมาณที่ใช้ดำเนินงาน เป็นต้น
  • เป็นข้อมูลในระยะเวลา 6 เดือนแรก ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ ในหัวข้อบริการประชาชน

ข้อมูล/หลักฐาน/เอกสาร
ประกอบการแจ้งความ

 

เกี่ยวกับเรา

  • ประวัติ สน.
  • วิสัยทัศน์
  • แผนยุทธศาสตร์ฯ
  • กต.ตร. สถานีตำรวจ
  • ทำเทียบหัวหน้าสถานี
  • เขตพื้นที่รับผิดชอบ
  • คู่มือปฏิบัติงานของ จนท. ตำรวจ
  • การติดต่อ สน.เตาปูน

บริการประชาชน

  • ข้อมูลสถานีตำรวจทั่วประเทศ
  • ข้อมูลสถานีตำรวจสำหรับแจ้งการชุมนุมฯ
  • ข้อมูลข้าราชการตำรวจ
  • ศูนย์กลางคู่มือสำหรับประชาชน
  • ศูนย์กลางแอปพลิเคชั่น
  • แจ้งเบาะแส ร้องเรียน
  • คู่มือการให้บริการของ ประชาชนผู้มารับบริการ
  • ดาวน์โหลดเอกสาร

แบบสอบถาม

  • สำหรับจุดบริการประชาสัมพันธ์ (EIT)
  • สำหรับบุคลากรใน สน.เตาปูน (IIT)
  • แบบสำรวจความพึงพอใจ สน.เตาปูน

ติดต่อ

  • เลขที่ 655 ถนนกรุงเทพ-นนทบุรี แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800
  • 099 372 3637, 02 585 6101
  • 02 585 6102
  • Line official
  • facebook.com/Taopoonpolicestation
  • taopoon.police@hotmail.com
Visits: 1504
Today: 3
Total: 73971

© สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ สถานีตำรวจนครบาลเตาปูน

แผนผังเว็บไซต์